ออนไลน์ 51 |
การประชุม The International Leadership Conference ระหว่าง 13-17 ตุลาคม 2550จัดประชุมสัมมนา “The International Leadership Conference” ในหัวข้อ "Providing Vision and Leadership at a time of Global Crisis" ระหว่างวันที่ 13-17 ตุลาคม 2550 ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลี
ในการประชุมครั้งนี้ สหพันธ์นานาชาติและศาสนาเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย) ได้ส่ง นายวิเชียร อำนาจวรประเสริฐ กรรมการสหพันธ์นานาชาติและศาสนาเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย), นางวัลลภา นีละไพจิตร ประธานกลุ่มสตรีมุสลิมอาสาสมัคร , ดร. สุภาพรรณ พงศ์หล่อพิศิษฐ์์ นักจิตวิทยา , นายภาษิต ศิริมาลัย รองเลขาธิการมูลนิธิเพื่อการพัฒนาและสันติ และ นายวันชัย สนธิ์ชัยสกุล เลขาธิการสหพันธ์นานาชาติและศาสนาเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย) และ สหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย) เป็นผู้แทนไปร่วมประชุม
ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณคน150 จาก 50 ประเทศ
โดย...ดร.สุภาพรรณ หนึ่งในผู้ที่ส่งไปร่วมงานประชุม ได้มีการจัดประชุม ผู้นำนานาชาติในหัวข้อต่างๆ ตามสถานที่ต่างๆ หลายประเทศ ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจความจำเป็นเร่งด่วน บรรดานานาชาติและศาสนาร่วมมือ ร่วมใจ ที่จะหันหน้าเข้าหากันเสริมสร้างกิจกรรมเพื่อสันติภาพมีการเพิ่มพูนความใส่ใจท่ามกลาง ประชาชนทั่วโลกในความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านวิสัยทัศน์ และลักษณะผู้นำที่กล้าหาญถ้าเราแก้ไขประเด็นวิกฤตได้ทันเวลา แผน ILC ได้ถูกพัฒนาด้านความจำเป็นด้านนี้ในจิตใจ โปรแกรมจะแนะนำถึงความจำเป็น คุณธรรมอันเป็นสากล หลักการและการปฏิบัติซึ่งจำเป็นที่จะสร้างสรรค์โลก ซึ่งประชาชนทุกถิ่นฐาน, ชาติพันธ์, นานาชาติ, วัฒนธรรม และศาสนาอาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ รวมทั้งพิจารณาถึงสาเหตุความขัดแย้ง และแนวทาง เราสามารถเคลื่อนไหวร่วมกันจากความขัดแย้ง , ความไม่เสมอภาค, ความยากจน, ความเกลียดชัง ให้จางหายไป กลายเป็นความร่วมมือ ความเจริญรุ่งเรืองด้วยกันเฉกเช่น ครอบครัวแห่งมนุษย์ชาติเดียวกันภายใต้พระผู้เป็นเจ้า สหพันธ์สันติภาพสากล เป็นเครือข่ายทั่วโลกของปัจเจกบุคคลและนานาองค์กร ผูกพันธ์กันเพื่อสันติภาพ ด้วยวิถีทางการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางการศึกษาและการบริการ แผนของ UPF เอื้ออำนวยส่วนร่วมแก่ผู้นำอันหลากหลาย ทั้งสายงาน และความสนใจรวมทั้งรัฐบาล , สังคมอารยธรรมศาสน ,นักวิชาการ, สื่อสารมวลชน, ศิลปะ, กีฬา หลาย องค์กรอิสระนับตั้งแต่พิธีการประชุม เมื่อ ค.ศ. 2005 UPF แล้วหลังจากนั้นได้มีความเจริญเติบโตและก้าวหน้าอย่างเป็นที่น่าสังเกตุ ทูตสันติภาพของโลกมีส่วนร่วมไปทั่วโลก ในความพยายามเกิดข้อตกลงนำไปสู่คำตอบ ของสังคมอารยธรรมต่อปัญหาวิกฤตการโลกาิภิวัฒน์จากตะวันออกกลาง ต่อตะวันออกเฉียงเหนือ UPF เชื่อว่าการประชุมผู้นำนานาชาติเพื่อผู้อาวุโสทางการทูตและผู้นำอื่นๆ จะนำไปสู่ความช่วยเหลือที่ชัดแจ้ง ต่อการสร้างให้โลกทีสันติสุขในที่สุด เรามีงานสำคัญที่ทำเราจะตั้งใจคอยคำตอบโดยผลงานที่เป็นประโยชน์จากพวกท่าน การร่วมประชุมผู้นำนานาชาติมีเงื่อนไขด้านวิสัยทัศน์ และความเป็นผู้นำคน เวลาแห่งวิกฤติทั่วโลกาภิวัฒน์ กรุงโซล ประเทศเกาหลี 13 -17 ตุลาคม 2550 ผู้แทนของ UPF ประเทศไทย นายวิเชียร อำนาจวรประเสริฐ กรรมการสหพันธ์นานาชาติและศาสนาเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย), นางวัลลภา นีละไพจิตร ประธานกลุ่มสตรีมุสลิมอาสาสมัคร, ดร. สุภาพรรณ พงศ์หล่อพิศิษฐ์์ นักจิตวิทยา, นายภาษิต ศิิริมาลัย รองเลขาธิการมูลนิธิเพื่อการพัฒนาและสันติ และ นายวันชัย สนธิ์ชัยสกุล เลขาธิการสหพันธ์นานาชาติและศาสนาเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย) และ สหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย) เป็นผู้แทนไปร่วมประชุม การประชุมความเป็นผู้นำนานาชาติ (ILC) เป็นของ UPF จะกำหนดเงื่อนไขหรือหัวข้อหลากหลาย เน้นความจำเป็นเร่งด่ืวนเพื่อเพิ่มวิสัยทัศน์ใหม่และความเป็นผู้นำ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 มีสาเหตุของความขัดแย้งที่ไม่แสดงความหมายที่กระจ่างและความเข้าใจที่แท้จริง ของประชาชนและชาติอันจะทำให้นำไปสู่การกำหนดทิศทางไปสู่การแก้ไขเปลี่ยนแปลง การถูกคุกคามในปัจจุบัน ILC จึงมีการจัดประชุมเป็นระยะเพื่อส่งเสริมสุขภาพสัมพันธภาพของมวลมนุษย์ ซึ่งหลากหลายในสังคม ,สถาบันและรัฐบาลและเพื่อที่จะสร้างสรรค์ วัฒนธรรมแห่งสันติภาพของครอบครัวเดียวของมนุษยชาติ ILC มุ่งย้ำถึงความสำคัญของนานาชาติและสนทนาเกี่ยวกับความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความร่วมมือกันอันเป็นสิ่งจำเป็นต่อสันติภาพ และการพัฒนาของมนุษย์ การจัดประชุม ILC มี 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเกิดกรอบงานร่วมกัน ในการสร้างสันติภาพ สันติสุข และความเจริญรุ่งเรืองด้วยพื้นฐานของคุณธรรม และหลักการสากลทั้งจริยธรรม และจิตวิญญาณในธรรมชาติ ด้วยการปฏิบิติอย่างลึกซึ้ง แผนรวมด้วย การวิเคราะห์เชิงลึกของรากอันเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง โดยเงื่อนไขพื้นฐานเสียงเพื่อการพัฒนาการ การประเมินผล และการสร้างสันติภาพ ความพยายามเพื่อสนับสนุนนานาชาติ นานาวัฒนธรรม และความร่วมมือ 2. เพื่อที่จะจำแนก "การปฏิบัติที่ดีที่สุด" เท่าที่จะทำได้ในการเพิ่มขยายความเป็นนานาชาติ และการตอบสนองของภาคพื้นที่ขัดแย้งและความรุนแรง ด้วยการแนะนำการเป็นหุ้นส่วนอย่างไม่เป็นทางการ และนวัฒกรรมในการทำงานร่วมกัน รัฐบาล, ศาสนา, ศชย และภาคส่วนเอกชน สามารถเชื่อมโยงเป็นทรัพยากรใหม่ 3. เพื่อพิจารณานานาแนวทางเครือข่ายโลกาภิวัฒน์ของ UPF ทูตสันติภาพ สามารถสนับสนุนคณะทำงานของ UN ที่จะมีสันติภาพปลอดภัย เพิ่มพูนสมรรถภาพไปจนถึงความสำเร็จแห่งเป้าหมายพัฒนาการแห่งคณะสร้างสันติภาพ และการทำงานกับสังคมอารยธรรม สำหรับการปรับปรุงใหม่ของสหประชาชาติ รวมทั้งการจัดตั้งสภาที่ปรึกษานานาศรัทธาสันติภาพ ILC ได้มีการดำเนินการจัดการประชุมหลายครั้งโดยการเปลี่ยนสถานที่ และหลายหัวข้อ ตามประเด็นที่เร่งด่วน สำหรับครั้งนี้เป็นหัวข้อ การสร้างวิสัยทัศน์ และความเป็นผู้นำในยุควิกฤตทั่วโลกาภิวัฒน์โดยมุ่งเน้นถึง 1.ความระแวดระวัง ความจำเป็นต่อวิกฤตต่อการป้องกันการร่วมแก้ไขความขัดแย้งและเสริมสร้างโลกด้วย ความปลอดภัยแห่งมนุษย์ชาติอย่างแท้จริง พัฒนาการและสันติภาพ |